การจัดการวิทยานิพนธ์และปัญหาพิเศษ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ BUULIB Learn & Share
เรื่อง การจัดการวิทยานิพนธ์และปัญหาพิเศษ
วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

…………………………….

แนวปฏิบัติที่ดีการจัดการปัญหาพิเศษ มีขั้นตอนดังนี้

งานวิจัยระดับปริญญาตรี ที่พบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ปริญญานิพนธ์ (เปลี่ยนชื่อมาจากโครงงานพิเศษ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์) และปัญหาพิเศษ

  1. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศรับตัวเล่มจากคณะดำเนินการ Pre-cataloging ใส่ชื่อเรื่อง,ชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์จากนั้นจัดส่งตัวเล่มให้ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
  1. ฝ่ายวิเคราะห์รับตัวเล่มโดยลงรายการเป็นประเภทหนังสือ โดยเพิ่มtag500 bb^aงานวิจัยระดับปริญญาตรีtag 610 27^aมหาวิทยาลัยบูรพา^bคณะ^xใส่ประเภทของงานตามที่ปรากฏบนหน้าปกแนวปฏิบัติที่ดีการจัดการวิทยานิพนธ์ มีขั้นตอนดังนี้
  1. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศรับตัวเล่มและแผ่น CD จากคณะ ให้ตรวจสอบหน้าปก, หน้าปกใน,สารบัญ และดำเนินการ Pre-catlogingใส่ชื่อเรื่อง, ชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ จากนั้นส่งตัวเล่มให้ฝ่ายวิเคราะห์ฯ ลงรายการต่อไป
  2. แผ่น CD ส่งให้ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (คุณอ่อนศรี) ให้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลทำการบันทึก Metadata พร้อม upload object ขึ้นฐาน TDC และทำ link ใน tag 856
  1. ฝ่ายวิเคราะห์ฯ เมื่อได้รับตัวเล่มจากฝ่ายพัฒนาฯ ตรวจสอบตัวเล่มถ้าพบว่าตัวเล่มไม่สมบูรณ์ให้ส่งคืนตัวเล่มดังกล่าวกลับไปที่ฝ่ายพัฒนาฯ เพื่อส่งคืนคณะต่อไป
  1. กรณีวิทยานิพนธ์ของวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ (MBA) ที่ได้จัดส่งเป็นไฟล์มาให้ฝ่ายเทคโนฯ บันทึก Metadata พร้อม upload object ขึ้นฐาน TDC แล้วให้จัดส่ง CD นั้นให้ฝ่ายวิเคราะห์เพื่อลงรายการเป็นสื่อประเภท e-Thesis
  1. กรณีที่ผู้แต่งเป็นชาวต่างชาติ การลงรายการให้ลงรายการชื่อผู้แต่งที่ถอดตัวอักษร และให้เพิ่มtag 700 ชื่อผู้แต่งภาษาต่างประเทศด้วย